เส้นทางสู่อาชีพสัตวแพทย์
คุณหมอรักษาสัตว์
สัตวแพทย์ หรือ คุณหมอรักษาสัตว์ เป็นอีกอาชีพในฝันของน้อง ๆ หลาย ๆ คน โดยเฉพาะคนที่ชอบช่วยเหลือสัตว์ สัตว์เลี้ยงก็เหมือนสมาชิกในครอบครัวที่เราต้องดูแล ยามที่เจ็บป่วยหากได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี สัตว์เลี้ยงเหล่านี้ก็จะมีสุขภาพดีมีอายุที่ยืนยาว อาชีนี้จึงมีความสำคัญในการช่วยบรรเทาทุกข์ของสัตว์ ให้พ้นจากความเจ็บป่วยและทรมาน เมื่อเวลาที่คนเราป่วยยังมีหมอคอยดูแลรักษาอาการ สัตว์เลี้ยงของเราก็เช่นเดียวกันต้องมีสัตวแพทย์คอยดูแล
ลักษณะงาน
1. ตรวจโรคและให้การรักษา เพื่อดูอาการผิดปกติของสัตว์ โดยใช้ยาหรือผ่าตัดสัตว์ที่เจ็บป่วย
2. ตรวจร่างกายของโคนมหรือสัตว์อื่น ๆ เป็นระยะ และฉีดยาป้องกันโรค เช่น อหิวาห์ตกโรค โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น
3.การทำงานด้านนิเวศวิทยา สุขศาสตร์การอาหาร มาตรฐานอาหารและปนเปื้อนในอาหารที่มีต้นกำเนิดมากจากสัตว์เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
4. ค้นหาสาเหตุของโรคระบาดและหาทางป้องกันไม่ให้เชื้อโรคแพร่ไปยังสัตว์
5. ให้บริการด้านสูติศาสตร์ ให้คำแนะนำแก่เจ้าของสัตว์ ในด้านสุขศาสตร์ การให้อาหาร การผสมพันธุ์และการเลี้ยงดูทั่วๆไป
6. ผ่าซากสัตว์เพื่อชันสูตรโรค
7. อาจเชี่ยวชาญในการรักษาสัตว์ชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น สัตว์เลี้ยงทั่วไป , สัตว์ปีก หรือเชี่ยวชาญทางสัตว์แพทย์ศาสตร์สาขาใดสาขาหนึ่ง เช่น ศัลยกรรม หรือรังสีวิทยา เป็นต้น
สภาพการทำงาน
ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ทำงานในสถานที่ที่เหมือนกับสำนักงานทั่วไป โดยมีห้องรักษาสัตว์ที่มีเตียงตรวจและอุปกรณ์สำหรับการรักษาหรือบางครั้ง ต้องออกทำงานนอกสถานที่ในกรณีที่ไม่สามารถนำสัตว์มาที่คลินิกได้ หรือทำงานนอกสถานที่ในกรณีที่ต้องทำงานป้องกันโรคระบาดหรือตรวจเยี่ยมตาม บ้านหรือฟาร์มของเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ การตรวจรักษาสัตว์ต้องระมัดระวังสัตว์ที่ดุร้ายหรือกลัวและโกรธ ซึ่งมีโอกาสกัดหรือทำร้ายได้ ผู้ประกอบอาชีพนี้ต้องเข้าใจธรรมชาติของสัตว์แต่ละชนิดเพื่อที่จะได้ทำการ ตรวจรักษาได้อย่างปลอดภัย
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาสัตวแพทย์ศาสตร์
2. มีนิสัยรักสัตว์และรักที่จะประกอบอาชีพนี้
3. มีทัศนคติที่ดีต่อองค์กรและเพื่อนร่วมงาน
4. มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง อดทน เพราะในบางครั้งต้องดูแลสัตว์ขนาดใหญ่
5. ต้องมีความสนใจในวิชาชีววิทยาและสามารถสอบได้คะแนนสูงในวิชานี้
6. มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานตรวจโรค และให้การรักษาโดยใช้ยาหรือผ่าตัดสัตว์ที่เจ็บป่วย บาดเจ็บหรือต้องการรับการรักษา
7. มีความละเอียดรอบคอบ ช่างสังเกตสนใจกระตือรือร้นในการ ทำงาน สนใจแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ
8. มีความซื่อสัตย์ต่ออาชีพ กล้าตัดสินใจ รับผิดชอบในการทำงาน
อาชีพสัตวแพทย์ต้องเรียนอะไร
ต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปในสาขาวิชาสัตวแพทย์ศาสตร์ หลักสูตรการศึกษา 6 ปี จากสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย โดยศึกษาวิชาทางสัตวแพทย์ เรียนวิชาที่เกี่ยวกับตัวสัตว์เกือบทั้งหมดทั้งกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา เกี่ยวกับจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน ปาราสิตวิทยา พยาธิวิทยา อายุรศาสตร์ เภสัชวิทยา ศัลยศาสตร์ เธนุเวชและวิทยาการ สืบพันธุ์ สัตวแพทยศาสตร์ สาธารณสุขการปฏิบัติทางคลีนิค ทุกรายกลุ่มวิชาจะครอบคลุมในสัตว์เลี้ยง (สุนัข แมว) สัตว์เศรษฐกิจและสัตว์ป่า
โอกาสในการมีงานทำ
ความต้องการผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ขึ้นอยู่กับสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เพราะนอกจากจะประกอบธุรกิจส่วนตัวแล้ว สถานประกอบกิจการภาคเอกชน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์ และผู้ประกอบกิจการด้าน ปศุสัตว์ ล้วนแต่ต้องพึ่งสัตวแพทย์ในการดูแล และตรวจรักษาทั้งสิ้น ถ้าปีใดเศรษฐกิจมีอัตราการขยายตัวลดลงก็จะมีผลกระทบต่อตลาดแรงงานในอาชีพนี้บ้าง ปัจจุบัน ประเทศไทยรณรงค์ด้านการสงวนพันธุ์สัตว์ป่า เช่น ช้าง เสือ กระทิง จึงมีสัตวแพทย์ประจำโครงการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือสัตว์ป่าที่พลัดหลง หรือบาดเจ็บ ส่วนผู้ประกอบการด้านปศุสัตว์นั้นมีเพิ่มขึ้นเพราะประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตและส่งออกสินค้าประเภทเนื้อสัตว์ไปจำหน่ายในต่างประเทศ ซึ่งจำเป็นจะต้องทำให้สินค้ามีคุณภาพและปลอดจากโรค ความต้องการสัตว์แพทย์จึงยังคงมีอยู่และอาจเพิ่มมากขึ้น ถ้าการส่งออกมีแนวโน้มดีขึ้น
อย่างไรก็ตาม มีผู้นิยมเลี้ยงสัตว์ในบ้านเรือนส่วนบุคคลมากขึ้น ความต้องการสัตวแพทย์ประจำโรงพยาบาลหรือคลินิก อาจมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอีกทั้งโอกาสในการประกอบอาชีพส่วนตัวเป็นไปได้ค่อนข้างสูง เพราะผู้เลี้ยงสัตว์มักนำสัตว์เลี้ยงของตนไปคลีนิกมากขึ้น เนื่องจากต้องการความสะดวกรวดเร็วในการตรวจและรักษาสัตว์เลี้ยง
โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ
ผู้ประกอบอาชีพสัตวแพทย์ที่ทำงานจนมีความชำนาญ และประสบการณ์จะได้รับการเลื่อนขั้นตำแหน่งไปจนถึงระดับผู้บริหาร สำหรับสัตวแพทย์ที่ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วก็มีโอกาสในการทำงานเป็นอาจารย์สอนในสถาบันหรือ มหาวิทยาลัยทั่วไปที่มีหลักสูตรสัตวแพทย์ ผู้ประกอบอาชีพนี้สามารถประกอบอาชีพอิสระโดยการเปิดคลีนิกรักษาสัตว์ เป็นรายได้หลักหรือรายได้เสริมนอกเหนือจากงานประจำได้เช่นกัน
4. ค้นหาสาเหตุของโรคระบาดและหาทางป้องกันไม่ให้เชื้อโรคแพร่ไปยังสัตว์
5. ให้บริการด้านสูติศาสตร์ ให้คำแนะนำแก่เจ้าของสัตว์ ในด้านสุขศาสตร์ การให้อาหาร การผสมพันธุ์และการเลี้ยงดูทั่วๆไป
6. ผ่าซากสัตว์เพื่อชันสูตรโรค
7. อาจเชี่ยวชาญในการรักษาสัตว์ชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น สัตว์เลี้ยงทั่วไป , สัตว์ปีก หรือเชี่ยวชาญทางสัตว์แพทย์ศาสตร์สาขาใดสาขาหนึ่ง เช่น ศัลยกรรม หรือรังสีวิทยา เป็นต้น
สภาพการทำงาน
ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ทำงานในสถานที่ที่เหมือนกับสำนักงานทั่วไป โดยมีห้องรักษาสัตว์ที่มีเตียงตรวจและอุปกรณ์สำหรับการรักษาหรือบางครั้ง ต้องออกทำงานนอกสถานที่ในกรณีที่ไม่สามารถนำสัตว์มาที่คลินิกได้ หรือทำงานนอกสถานที่ในกรณีที่ต้องทำงานป้องกันโรคระบาดหรือตรวจเยี่ยมตาม บ้านหรือฟาร์มของเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ การตรวจรักษาสัตว์ต้องระมัดระวังสัตว์ที่ดุร้ายหรือกลัวและโกรธ ซึ่งมีโอกาสกัดหรือทำร้ายได้ ผู้ประกอบอาชีพนี้ต้องเข้าใจธรรมชาติของสัตว์แต่ละชนิดเพื่อที่จะได้ทำการ ตรวจรักษาได้อย่างปลอดภัย
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาสัตวแพทย์ศาสตร์
2. มีนิสัยรักสัตว์และรักที่จะประกอบอาชีพนี้
3. มีทัศนคติที่ดีต่อองค์กรและเพื่อนร่วมงาน
4. มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง อดทน เพราะในบางครั้งต้องดูแลสัตว์ขนาดใหญ่
5. ต้องมีความสนใจในวิชาชีววิทยาและสามารถสอบได้คะแนนสูงในวิชานี้
6. มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานตรวจโรค และให้การรักษาโดยใช้ยาหรือผ่าตัดสัตว์ที่เจ็บป่วย บาดเจ็บหรือต้องการรับการรักษา
7. มีความละเอียดรอบคอบ ช่างสังเกตสนใจกระตือรือร้นในการ ทำงาน สนใจแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ
8. มีความซื่อสัตย์ต่ออาชีพ กล้าตัดสินใจ รับผิดชอบในการทำงาน
อาชีพสัตวแพทย์ต้องเรียนอะไร
ต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปในสาขาวิชาสัตวแพทย์ศาสตร์ หลักสูตรการศึกษา 6 ปี จากสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย โดยศึกษาวิชาทางสัตวแพทย์ เรียนวิชาที่เกี่ยวกับตัวสัตว์เกือบทั้งหมดทั้งกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา เกี่ยวกับจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน ปาราสิตวิทยา พยาธิวิทยา อายุรศาสตร์ เภสัชวิทยา ศัลยศาสตร์ เธนุเวชและวิทยาการ สืบพันธุ์ สัตวแพทยศาสตร์ สาธารณสุขการปฏิบัติทางคลีนิค ทุกรายกลุ่มวิชาจะครอบคลุมในสัตว์เลี้ยง (สุนัข แมว) สัตว์เศรษฐกิจและสัตว์ป่า
โอกาสในการมีงานทำ
ความต้องการผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ขึ้นอยู่กับสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เพราะนอกจากจะประกอบธุรกิจส่วนตัวแล้ว สถานประกอบกิจการภาคเอกชน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์ และผู้ประกอบกิจการด้าน ปศุสัตว์ ล้วนแต่ต้องพึ่งสัตวแพทย์ในการดูแล และตรวจรักษาทั้งสิ้น ถ้าปีใดเศรษฐกิจมีอัตราการขยายตัวลดลงก็จะมีผลกระทบต่อตลาดแรงงานในอาชีพนี้บ้าง ปัจจุบัน ประเทศไทยรณรงค์ด้านการสงวนพันธุ์สัตว์ป่า เช่น ช้าง เสือ กระทิง จึงมีสัตวแพทย์ประจำโครงการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือสัตว์ป่าที่พลัดหลง หรือบาดเจ็บ ส่วนผู้ประกอบการด้านปศุสัตว์นั้นมีเพิ่มขึ้นเพราะประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตและส่งออกสินค้าประเภทเนื้อสัตว์ไปจำหน่ายในต่างประเทศ ซึ่งจำเป็นจะต้องทำให้สินค้ามีคุณภาพและปลอดจากโรค ความต้องการสัตว์แพทย์จึงยังคงมีอยู่และอาจเพิ่มมากขึ้น ถ้าการส่งออกมีแนวโน้มดีขึ้น
อย่างไรก็ตาม มีผู้นิยมเลี้ยงสัตว์ในบ้านเรือนส่วนบุคคลมากขึ้น ความต้องการสัตวแพทย์ประจำโรงพยาบาลหรือคลินิก อาจมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอีกทั้งโอกาสในการประกอบอาชีพส่วนตัวเป็นไปได้ค่อนข้างสูง เพราะผู้เลี้ยงสัตว์มักนำสัตว์เลี้ยงของตนไปคลีนิกมากขึ้น เนื่องจากต้องการความสะดวกรวดเร็วในการตรวจและรักษาสัตว์เลี้ยง
โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ
ผู้ประกอบอาชีพสัตวแพทย์ที่ทำงานจนมีความชำนาญ และประสบการณ์จะได้รับการเลื่อนขั้นตำแหน่งไปจนถึงระดับผู้บริหาร สำหรับสัตวแพทย์ที่ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วก็มีโอกาสในการทำงานเป็นอาจารย์สอนในสถาบันหรือ มหาวิทยาลัยทั่วไปที่มีหลักสูตรสัตวแพทย์ ผู้ประกอบอาชีพนี้สามารถประกอบอาชีพอิสระโดยการเปิดคลีนิกรักษาสัตว์ เป็นรายได้หลักหรือรายได้เสริมนอกเหนือจากงานประจำได้เช่นกัน
ตค่บา่ทรน้่ืทสานตคั้สนตคั้่ืสนคตั้ืาสยขตคั้าสตคั้่าสขนตคราสนตคัารยขบคั้ืาตนสคั้สืาคตัรารค ัตารค ตััััััััััััััััััััััััััััััััััััััััคคคคคคัััััััััั่้้้้้ารรรรรรรรเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเรตาีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ
ตอบลบ